วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556


                                                    โยฮันน์ กูเทนแบร์ก 

                             โยฮันน์ กูเทนแบร์ก ( Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg) (ค.ศ. 1398  3 ก.พ. .ศ. 1468) ช่างเหล็กและนักประดิษฐ์ชาวเยอรมันนีมีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ในช่วงราวคริสศตวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และแทนพิมพ์แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำไวท์

 
   
กูเตนแบร์กได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป
       
                     ส่วนผลกระทบในโลกปัจจุบัน   
เพราะเทคโนโลยีด้านการพิมพ์หนังสือแท้ๆ จึงทำให้เราทุกวันนี้ สามารถรับและสืบ ทอด ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ ได้อย่างเอนกอนันต์ เพราะหากไม่มีเทคโนโลยีด้านการ พิมพ์นี้แล้ว และให้เราคัดลอกความรู้ต่างๆ กันด้วยมือมนุษย์เองนั้น ก็ยากที่จะทำให้ความ รู้วิทยาการแขนงต่างๆ แพร่หลายอย่างกว้างไกลเฉกเช่นปัจจุบันนี้ โดยเทคโนโลยีการพิมพ์ที่ว่านั้น ต้องยกเครดิตให้กับ โจฮัน กูเทนแบร์ก

                   ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ก็เป็นพัฒนาต่อยอดจาก แท่นพิมพ์ กูแทนแบร์ก ในโลกปัจจุบัน

                        นี่คือแท่นพิมพ์ในปัจจุบัน ในการพัฒนาของเทคโนโลยี

         การมีแท่นพิมพ์อาจส่งผลกระทบต่อโลกมาย ซึ่งสิ่งสำคัญในการพิมพ์อาจทำให้เกิดขยะ
                          จากการพิมพ์ออกมาใช้เกินความต้องการของผู้บริโภค และเป็นส่วนหนึ่งสภาวะ โลกร้อน
                          ถ้าหากจัดขยะให้ดี ก็อาจให้เกิดประโยชน์ในการเอากลับมาใช้ใหม่ หรือ  การรีไซเคิล 


                         นี่คืออีกวิธีที่ทำให้เศษขยะของการพิมพ์มีประโยชน์